fx-82ES PLUS
fx-85ES PLUS
fx-95ES PLUS
fx-350ES PLUS
(2nd edition / NATURAL-V.P.A.M.)
ก่อนใช้งานเครื่องคิดเลข
โหมดการคำนวณและการตั้งค่าเครื่องคิดเลข
การป้อนนิพจน์และค่า
- ▶กฎการป้อนข้อมูลพื้นฐาน
- ▶การป้อนข้อมูลกับการแสดงผลตามแบบจริง
- ▶ช่วงการคำนวณแบบ √
- ▶การใช้ค่าและนิพจน์เป็นอาร์กิวเมนต์ (การแสดงผลตามแบบจริงเท่านั้น)
- ▶โหมดการป้อนข้อมูลทับ (การแสดงผลแบบเชิงเส้นเท่านั้น)
- ▶การแก้ไขและลบนิพจน์
การคำนวณขั้นพื้นฐาน
- ▶การสลับผลการคำนวณ
- ▶การคำนวณเศษส่วน
- ▶การคำนวณเปอร์เซนต์
- ▶การคำนวณองศา, นาที, วินาที (ฐานหกสิบ)
- ▶หลายสเตทเมนท์
- ▶การใช้สัญลักษณ์ทางวิศวกรรม
- ▶การแยกตัวประกอบเฉพาะ
- ▶ประวัติการคำนวณและการทำซ้ำ
- ▶การใช้ฟังก์ชันหน่วยความจำ
ฟังก์ชันการคำนวณ
- ▶พาย (π), ฐานลอการึทึมธรรมชาติ e
- ▶ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
- ▶ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก
- ▶การแปลงหน่วยมุม
- ▶ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง
- ▶ฟังก์ชันลอการิทึม
- ▶ฟังก์ชันกำลัง และฟังก์ชันรากกำลัง
- ▶การแปลงพิกัดฉาก-พิกัดเชิงขั้ว
- ▶ฟังก์ชันแฟกทอเรียล (!)
- ▶ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ (Abs)
- ▶ตัวเลขสุ่ม (Ran#)
- ▶จำนวนเต็มแบบสุ่ม (RanInt#)
- ▶การจัดเรียง (nPr) และการจัดหมู่ (nCr)
- ▶ฟังก์ชันปัดเศษ (Rnd)
การใช้งานโหมดการคำนวณ
- ▶การคำนวณสถิติ (STAT)
- ▶การคำนวณสมการ (EQN) (สำหรับรุ่น fx-95ES PLUS เท่านั้น)
- ▶การสร้างตารางตัวเลขจากฟังก์ชัน (TABLE)
- ▶การคำนวณอสมการ (INEQ) (สำหรับรุ่น fx-95ES PLUS เท่านั้น)
- ▶การคำนวณอัตราส่วน (RATIO) (สำหรับรุ่น fx-95ES PLUS เท่านั้น)
ข้อมูลทางเทคนิค
- ▶ข้อผิดพลาด
- ▶ก่อนที่จะเกิดความผิดปรกติของเครื่องคิดเลข...
- ▶การเปลี่ยนแบตเตอรี
- ▶ลำดับความสำคัญในการคำนวณ
- ▶ช่วงการคำนวณ, จำนวนหลัก และความแม่นยำ
- ▶ข้อมูลจำเพาะ
- ▶การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องคิดเลขของท่าน
คำถามที่ถูกถามบ่อย
ช่วงการคำนวณ, จำนวนหลัก และความแม่นยำ
ช่วงการคำนวณและจำนวนหลักจะถูกใช้ในการคำนวณภายใน ส่วนความแม่นยำในการคำนวณจะขึ้นอยู่กับประเภทของการคำนวณ
ช่วงการคำนวณและความแม่นยำ
ช่วงการคำนวณ | ±1 × 10-99 ถึง ±9.999999999 × 1099 หรือ 0 |
จำนวนหลักสำหรับการคำนวณภายใน | 15 หลัก |
ความแม่นยำ | โดยทั่วไป จะ ±1 ที่หลักสิบสำหรับการคำนวณ 1 ครั้ง ความแม่นยำสำหรับการแสดงเลขชี้กำลังคือ ±1 ที่ตัวเลขท้ายสุด ข้อผิดพลาดจะเพิ่มมากขึ้นหากมีการคำนวณอย่างต่อเนื่อง |
การป้อนช่วงฟังก์ชันการคำนวณและความแม่นยำ
ฟังก์ชัน | ช่วงการป้อน | |
---|---|---|
sinx cosx |
Deg | 0 ≦ |x| < 9 × 109 |
Rad | 0 ≦ |x| < 157079632.7 | |
Gra | 0 ≦ |x| < 1 × 1010 | |
tanx | Deg | เช่นเดียวกันกับ sinx ยกเว้นเมื่อ |x| = (2n-1) × 90 |
Rad | เช่นเดียวกันกับ sinx ยกเว้นเมื่อ |x| = (2n-1) × π/2 | |
Gra | เช่นเดียวกันกับ sinx ยกเว้นเมื่อ |x| = (2n-1) × 100 | |
sin-1x, cos-1x | 0 ≦ |x| ≦ 1 | |
tan-1x | 0 ≦ |x| ≦ 9.999999999 × 1099 | |
sinhx, coshx | 0 ≦ |x| ≦ 230.2585092 | |
sinh-1x | 0 ≦ |x| ≦ 4.999999999 × 1099 | |
cosh-1x | 1 ≦ x ≦ 4.999999999 × 1099 | |
tanhx | 0 ≦ |x| ≦ 9.999999999 × 1099 | |
tanh-1x | 0 ≦ |x| ≦ 9.999999999 × 10-1 | |
logx, lnx | 0 < x ≦ 9.999999999 × 1099 | |
10x | -9.999999999 × 1099 ≦ x ≦ 99.99999999 | |
ex | -9.999999999 × 1099 ≦ x ≦ 230.2585092 | |
√x | 0 ≦ x < 1 × 10100 | |
x2 | |x| < 1 × 1050 | |
x-1 | |x| < 1 × 10100; x ≠ 0 | |
3√x | |x| < 1 × 10100 | |
x! | 0 ≦ x ≦ 69 (x เป็นจำนวนเต็ม) | |
nPr | 0 ≦ n < 1 × 1010, 0 ≦ r ≦ n (n, r เป็นจำนวนเต็ม) 1 ≦ {n!/(n-r)!} < 1 × 10100 |
|
nCr | 0 ≦ n < 1 × 1010, 0 ≦ r ≦ n (n, r เป็นจำนวนเต็ม) 1 ≦ n!/r! < 1 × 10100 หรือ 1 ≦ n!/(n-r)! < 1 × 10100 |
|
Pol(x, y) | |x|, |y| ≦ 9.999999999 × 1099 √x2 + y2 ≦ 9.999999999 × 1099 |
|
Rec(r, θ) | 0 ≦ r ≦ 9.999999999 × 1099 θ: เช่นเดียวกับ sinx |
|
°’ ” | a°b’c”: |a|, b, c < 1 × 10100; 0 ≦ b, c ค่าที่สองที่แสดงมีการผิดพลาด ±1 ที่ทศนิยมหลักที่สอง |
|
°’ ”← | |x| < 1 × 10100 |
|
xy | x > 0: -1 × 10100 < ylogx < 100 |
|
x√y | y > 0: x ≠ 0, -1 × 10100 < 1/x logy < 100 |
|
a b/c | ยอดรวมของจำนวนเต็มเศษและส่วนทั้งหมดจะต้องเป็น 10 หลักหรือน้อยกว่านั้น (รวมสัญลักษณ์คั่น) | |
RanInt#(a, b) | a < b; |a|, |b| < 1 × 1010; b - a < 1 × 1010 |
ความแม่นยำมีพื้นฐานเช่นเดียวกับ "ช่วงการคำนวณและความแม่นยำ" ที่อธิบายข้างต้น
ฟังก์ชัน xy, x√y, 3√ , x!, nPr, nCr ต้องมีการคำนวณภายในเป็นลำดับ ซึ่งสามารถทำให้สะสมข้อผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นกับการคำนวณในแต่ละครั้ง
ข้อผิดพลาดมีมากขึ้นและมีแนวโน้มว่าจะมากขึ้นใกล้เคียงกับฟังก์ชันจุดเอกฐาน และจุดเปลี่ยนเว้า
ค่าความต่างของผลการคำนวณ สามารถถูกแสดงในรูปแบบ π เมื่อใช้การแสดงผลตามแบบจริงเป็น |x| < 106 หมายเหตุ อย่างไรก็ตามการผิดพลาดของการคำนวณภายในอาจทำให้ไม่สามารถแสดงผลการคำนวณในรูปแบบ π ได้ และยังสามารถทำให้ผลลัพธ์ที่ควรจะอยู่ในรูปทศนิยมแสดงในรูปแบบ π ได้อีกด้วย